วันเสาร์ที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2556
10 เครื่องมือพื้นฐานที่ชาว Blogger ควรมี
10 เครื่องมือพื้นฐานที่ชาว Blogger ควรมี
หลังจากที่ได้นำเสนอบทความในการปรับแต่งบล็อกมาหลายบทความแล้ว ผมคาดว่า
Trick ต่าง ๆ ที่ได้นำเสนอไปนั้นบางอย่างก็ทำตามได้ง่าย
แต่บางอย่างก็มีความซับซ้อนในการปรับแต่ง โดยเฉพาะเรื่องกับปรับแต่ง CSS
Style และ HTML code
ซึ่งเป็นเรื่องยากพอสมควรสำหรับคนที่เพิ่งเริ่มต้นแบบไม่ทราบความรู้เหล่า
นี้มาก่อน
บทความนี้ผมจึงขอเสนอเครื่องมือพื้นฐานที่จะช่วยในการปรับแต่ง Blogger ให้ง่ายขึ้น และทุกคนที่จะทำบล็อกให้ดูเป็นมืออาชีพ ก็ควรจะมีเครื่องมือเหล่านี้
บทความนี้ผมจึงขอเสนอเครื่องมือพื้นฐานที่จะช่วยในการปรับแต่ง Blogger ให้ง่ายขึ้น และทุกคนที่จะทำบล็อกให้ดูเป็นมืออาชีพ ก็ควรจะมีเครื่องมือเหล่านี้
1. Window Live Writer
เครื่องมือนี้จะช่วยให้การเขียนบล็อกของคุณสะดวกขึ้นมาก เพราะมีฟังก์ชันใกล้เคียงกับ Microsoft word คุณจะสามารถปรับแต่งรูปแบบอักษร หรือแทรกตาราง หรือแทรกรูปภาพ และจัดการกับรูปภาพ ได้ง่ายขึ้นอย่างมาก คุณสามารถดูรายละเอียดและดาวน์โหลดได้จากบทความ เขียนบทความแบบเทพๆ ด้วย Windows Live Writer
2. Hex Color Finder
เครื่องมือนี้เป็น Software ที่จะช่วยให้คุณทราบโค้ดสีที่เห็นหรือสร้างโค้ดสีที่ต้องการได้อย่างง่ายดาย ถ้าต้องการทำบล็อกให้ดูมืออาชีพ เครื่องมือนี้ขาดไม่ได้เลยครับ ดูรายละเอียดและดาวน์โหลดได้จากบทความ รู้ Color Code ง่ายๆ ด้วย Hex Color Finder
วิธีสมัครเข้าร่วม Networkedblogs บน Facebook
วิธีสมัครเข้าร่วม Networkedblogs บน Facebook
ตามที่ได้กล่าวไว้ในบทความ “การโปรโมทบล็อกตอนที่ 3 : การเข้าร่วมชุมชนคนทำบล็อก” ผู้อ่านก็ได้ทราบถึงประโยชน์จาการ Submit blog กับ blog directory และแหล่งในการ Submit ไปแล้ว แต่ที่ยังขาดไปคือขั้นตอนในการสมัครเข้าร่วมชุมชนคนทำบล็อกที่ยังติดค้างเอา ไว้ เนื่องจากถ้าอธิบายรวมกันในบทความเดียว ก็จะเสียนัยของบทความนั้นไป และจะทำให้บทความยาวเกินความจำเป็น
ในบทความนี้ผมจึงมาขยายความถึง ขั้นตอนการสมัครเข้าร่วมชุมชนคนทำบล็อกที่ได้กล่าวเอาไว้โดย บทความนี้จะกล่าวถึง การ เข้าร่วม Networkedblogs บน facebook
การอธิบายการเข้าร่วม Networkedblogs ผมจะแบ่งเป็น 2 ตอนได้แก่
ตอนที่ 1 ขั้นตอนการสมัคร
ตอนที่ 2 รายละเอียดการตั้งค่า
การโปรโมทบล็อกตอนที่ 4: การ Submit blog กับ Social Bookmark
การโปรโมทบล็อกตอนที่ 4: การ Submit blog กับ Social Bookmark
บทความนี้จะแนะนำถึงการโปรโมทบล็อก blog ของคุณผ่าน Social Bookmark (หรือบางท่านอาจจะเรียกว่า Pligg) ซึ่งปัจจุบันเป็นช่องทางการโปรโมทบล็อกที่ได้ผลดีมาก และจะทำให้บล็อกของคุณติดอันดับการค้นหาลำดับต้น ๆ ได้ไม่ยากเลยทีเดียว
เนื่องจาก Social Bookmark เป็นบริการที่มีการ update อย่างต่อเนื่อง ดังนั้น bot ของ search engine ก็จะมาเก็บข้อมูลอย่างสม่ำเสมอ แทบจะตลอดเวลาก็ว่าได้ ดังนั้นหากเรา submit บล็อกของเรา หรือเรื่องราวบนบล็อกของเราไปสู่ Social Bookmark ข้อมูลที่เรา submit ไปก็จะถูก bot ของ Search engine ค้นพบอย่างรวดเร็วไปด้วย นอกจากนี้ Social Bookmark ส่ง backlink กลับมายังบล็อกของเราแบบ dofollow (หรือบางแห่งอาจจะเป็น Nofollow) ทำให้ bot ของ search engine ไต่มาหาบล็อกของเราและเก็บ index ไปอย่างรวดเร็ว และจะส่งผลให้ traffic(จำนวนคนเข้าบล็อก) และ pagerank(คะแนนคุณภาพของเว็บไซต์) บล็อกของเราเพิ่มขึ้นตามมาด้วยนั่นเองครับ
เมื่อพอทราบแนวคิดและเห็นประโยชน์ในการ Submitblog กับ Social Bookmark ต่อไปก็จะแนะนำแหล่งให้บริการและ เทคนิคเพิ่มเติมในการ Submit
แหล่งบริการ Social Bookmark ที่ได้รับความนิยม มีดังนี้ครับ
เนื่องจาก Social Bookmark เป็นบริการที่มีการ update อย่างต่อเนื่อง ดังนั้น bot ของ search engine ก็จะมาเก็บข้อมูลอย่างสม่ำเสมอ แทบจะตลอดเวลาก็ว่าได้ ดังนั้นหากเรา submit บล็อกของเรา หรือเรื่องราวบนบล็อกของเราไปสู่ Social Bookmark ข้อมูลที่เรา submit ไปก็จะถูก bot ของ Search engine ค้นพบอย่างรวดเร็วไปด้วย นอกจากนี้ Social Bookmark ส่ง backlink กลับมายังบล็อกของเราแบบ dofollow (หรือบางแห่งอาจจะเป็น Nofollow) ทำให้ bot ของ search engine ไต่มาหาบล็อกของเราและเก็บ index ไปอย่างรวดเร็ว และจะส่งผลให้ traffic(จำนวนคนเข้าบล็อก) และ pagerank(คะแนนคุณภาพของเว็บไซต์) บล็อกของเราเพิ่มขึ้นตามมาด้วยนั่นเองครับ
เมื่อพอทราบแนวคิดและเห็นประโยชน์ในการ Submitblog กับ Social Bookmark ต่อไปก็จะแนะนำแหล่งให้บริการและ เทคนิคเพิ่มเติมในการ Submit
แหล่งบริการ Social Bookmark ที่ได้รับความนิยม มีดังนี้ครับ
http://slashdot.org/ Pr8
http://www.propeller.com/ Pr8
http://www.digg.com Pr8
การ โปรโมทบล็อกตอนที่ 3 : การเข้าร่วมชุมชนคนทำบล็อก
การ โปรโมทบล็อกตอนที่ 3 : การเข้าร่วมชุมชนคนทำบล็อก
บทความนี้ผมจะแนะนำถึงการ เข้าร่วมชุมชนของคนทำบล็อก หรือจะเรียกว่าเป็นการ Submit blog เข้าสู่ blog directory ก็ได้
blog directory คืออะไร? มันก็คือแหล่งรวมของคนที่ที่ทำบล็อกจะนำบล็อกของตนเองไปโปรโมทให้โลก Internet ได้รับรู้ว่ายังมีบล็อกเกี่ยวกับเรื่องที่คุณทำอยู่อีกหนึ่งบล็อก
ในปัจจุบัน ปี 2010 blogdirectory มีมากมาย ผุดขึ้นมาเป็นดอกเห็ดอยู่เหมือนกัน ซึ่งก็มีทั้งแหล่งที่เป็นที่รู้จักและไม่เป็นที่รู้จัก มีทั้งให้บริการแบบฟรี ๆ และเสียเงิน มีทั้งให้บริการโปรโมทบล็อกอย่างเดียว และบางที่ก็ทั้งรับโปรโมทและมีการสร้างเป็นชุมชนขึ้นมาด้วย
การโปรโมทบล็อกตอนที่ 2 : การ Submit Feed และ Ping
การโปรโมทบล็อกตอนที่ 2 : การ Submit Feed และ Ping
ต่อเนื่องจากตอนที่ 1 ซึ่งได้นำเสนอการส่ง Sitemap กับ Top 4 ของ Search
Engines(SE) ไปแล้ว บทความนี้ก็เป็นบันไดขั้นที่ 2
ที่จะก้าวสู่การโปรโมทบล็อกให้ครบทุกมิติ
การ Submit Feed ในที่นี้ หมายถึงการ ส่ง feed บล็อกของเราไปยัง Feed directory ซึ่งเป็นแหล่งที่จะรวบรวม feed ที่ส่งมาจากแหล่งต่าง ๆ เช่น เว็บไซต์ หรือบล็อกของเราเป็นต้น โดยเราจะต้องเป็นผู้ลงทะเบียนให้มีการส่ง Feed ไปยัง Feed directory เหล่านั้นด้วยตัวเองเสียก่อน
การแพร่กระจาย feed ของเราด้วยวิธีนี้จะทำให้ SE พบข่าวสารจากบล็อกของเราง่ายขึ้นและยังทำให้ทราบทุกการ update บล็อกของเราเป็นระยะ ๆ ด้วย
ในทำนองเดียวกันการ Submit Ping ก็เป็นการส่งข่าวสารไปยังแหล่งต่าง ๆ ให้ Robot ของ SE ทราบว่าบล็อกของเรามีการ update แล้ว เข้ามาดูได้เลย (ประมาณว่าไม่ต้องรออีกหลายวัน ตามยะถากรรม)
เอาล่ะครับเมื่อเข้าใจ Concept การ Submit Feed และ Submit Ping แล้วมาลงมือทำกันเลยครับ
การ Submit Feed ในที่นี้ หมายถึงการ ส่ง feed บล็อกของเราไปยัง Feed directory ซึ่งเป็นแหล่งที่จะรวบรวม feed ที่ส่งมาจากแหล่งต่าง ๆ เช่น เว็บไซต์ หรือบล็อกของเราเป็นต้น โดยเราจะต้องเป็นผู้ลงทะเบียนให้มีการส่ง Feed ไปยัง Feed directory เหล่านั้นด้วยตัวเองเสียก่อน
การแพร่กระจาย feed ของเราด้วยวิธีนี้จะทำให้ SE พบข่าวสารจากบล็อกของเราง่ายขึ้นและยังทำให้ทราบทุกการ update บล็อกของเราเป็นระยะ ๆ ด้วย
ในทำนองเดียวกันการ Submit Ping ก็เป็นการส่งข่าวสารไปยังแหล่งต่าง ๆ ให้ Robot ของ SE ทราบว่าบล็อกของเรามีการ update แล้ว เข้ามาดูได้เลย (ประมาณว่าไม่ต้องรออีกหลายวัน ตามยะถากรรม)
เอาล่ะครับเมื่อเข้าใจ Concept การ Submit Feed และ Submit Ping แล้วมาลงมือทำกันเลยครับ
การโปรโมทบล็อกตอนที่ 1 : วิธี Submit sitemap สำหรับ Blogger
การโปรโมทบล็อกตอนที่ 1 : วิธี Submit sitemap สำหรับ Blogger
หลังจากที่ผมได้แนะนำเทคนิคต่าง ๆ ในการปรับแต่ง และใช้งาน blogger มามากแล้ว และถ้าหากสมาชิกได้ติดตามและหยิบประโยชน์จากบทความที่สนใจไปใช้ประโยชน์ ผมก็คาดว่าบล็อกของคุณก็คงจะดูดีเป็นมีความเป็นมืออาชีพ กันเรียบร้อยแล้ว
บทความหลัง ๆ นี้ผมก็จะนำเสนอชุดบทความในการโปรโมทบล็อก ให้เป็นที่รู้จักในโลกอินเตอร์เนตมากขึ้น ตรงกับกลุ่มเป้าหมายมากขึ้น และก็ต้องขอออกตัวไว้ก่อนนะครับ ว่าบทความที่เขียนขึ้นนั้นได้จากประสบการณ์ตรงบทความจะขอเน้นที่วิธีการทำให้สำเร็จมากกว่าจะเน้นอธิบายในเชิงทฤษฎี
สำหรับบันไดขั้นแรกในการโปรโมทบล็อกของผมก็ขอนำเสนอวิธีการ submit sitemap กับ google , yahoo, และ bing(Msn live search) และ อื่น ๆ
1. การ submit sitemap กับ Google นั้นผมได้กล่าวถึงไว้แล้วผู้อ่านสามารถศึกษาได้ >> ที่นี่
Roadmap การทำ SEO สำหรับ Blogger
Roadmap การทำ SEO สำหรับ Blogger
แนวทางการทำ SEO นี้ผมเขียนขึ้นมาเป็นแนวทางให้กับ Blogger มือใหม่ เพราะสำหรับมือใหม่แล้วก็จะยังไม่ทราบข้อมูลเรื่อง SEO และยังไม่เข้าใจว่า SEO
คืออะไร? ทำไมต้องทำ SEO ? และการทำ SEO มีแนวทางอย่างไร? Blogger
บางท่านก็อาจจะพอมีข้อมูลและได้ทดลองทำไปบ้างแล้วแต่ยังไม่ทราบแนวทางและ
ขั้นตอนการทำ SEO ที่ชัดเจน ก็สามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้จากบทความนี้
SEO คืออะไร?
SEO หรือ Search Engine Optimization คือกระบวนการทำให้ข้อมูลของเว็บไซต์หรือเว็บบล็อกที่เราสร้างถูกค้นพบได้ ง่ายที่สุด อาจเป็นการปรับแต่งองค์ประกอบภายในเว็บไซต์หรือเว็บบล็อก เช่นชื่อโดเมน title ของบล็อก ชื่อบทความ และองค์ประกอบภายนอก เช่นการสร้างลิงค์จากภายนอกมายังเว็บไซต์หรือเว็บบล็อกให้มากที่สุด เป้าหมายก็เพื่อให้อันดับในการค้นหาจาก Search Engine ดีที่สุด
ยกตัวอย่างเช่น ถ้าบล็อกของคุณเขียนเกี่ยวกับเรื่อง อาหารไทย เมื่อผมค้นหาข้อมูลใน google โดยใช้คำค้นว่า “อาหารไทย” ผมก็ควรจะพบบล็อกของคุณก่อนใครนั่นคืออยู่อันดับที่ 1 ในการค้นหา หรือในกรณีมีคู่แข่งหรือปริมาณการค้นหาจำนวนมาก การติดอันดับ 1 ใน 10 ก็เพียงพอแล้ว
ทำไมต้อง Google ? ที่จริงแล้ว Search Engine ไม่ได้มีเพียง Google เท่านั้นยังมี Bing ,yahoo ,Ask ,Alexa ฯลฯ แต่ Google เป็นบริการที่มีคนใช้มากที่สุด ดังนั้นถ้าเราติดอันดับที่ 1 ในผลการค้นหาจาก Google.com ด้วยคำค้นที่นิยมได้ คนเข้าบล็อกก็จะเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมากอย่างที่คุณคาดไม่ถึง
SEO คืออะไร?
SEO หรือ Search Engine Optimization คือกระบวนการทำให้ข้อมูลของเว็บไซต์หรือเว็บบล็อกที่เราสร้างถูกค้นพบได้ ง่ายที่สุด อาจเป็นการปรับแต่งองค์ประกอบภายในเว็บไซต์หรือเว็บบล็อก เช่นชื่อโดเมน title ของบล็อก ชื่อบทความ และองค์ประกอบภายนอก เช่นการสร้างลิงค์จากภายนอกมายังเว็บไซต์หรือเว็บบล็อกให้มากที่สุด เป้าหมายก็เพื่อให้อันดับในการค้นหาจาก Search Engine ดีที่สุด
ยกตัวอย่างเช่น ถ้าบล็อกของคุณเขียนเกี่ยวกับเรื่อง อาหารไทย เมื่อผมค้นหาข้อมูลใน google โดยใช้คำค้นว่า “อาหารไทย” ผมก็ควรจะพบบล็อกของคุณก่อนใครนั่นคืออยู่อันดับที่ 1 ในการค้นหา หรือในกรณีมีคู่แข่งหรือปริมาณการค้นหาจำนวนมาก การติดอันดับ 1 ใน 10 ก็เพียงพอแล้ว
ทำไมต้อง Google ? ที่จริงแล้ว Search Engine ไม่ได้มีเพียง Google เท่านั้นยังมี Bing ,yahoo ,Ask ,Alexa ฯลฯ แต่ Google เป็นบริการที่มีคนใช้มากที่สุด ดังนั้นถ้าเราติดอันดับที่ 1 ในผลการค้นหาจาก Google.com ด้วยคำค้นที่นิยมได้ คนเข้าบล็อกก็จะเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมากอย่างที่คุณคาดไม่ถึง
วิธีทำบล็อก วิธีสร้างบล็อก การเขียนบล็อก blogger การทำ SEO เริ่มต้นที่นี่
บทความนี้ผมเขียนขึ้นมาเพื่อมือใหม่ที่ต้องการทำบล็อกของ Blogger หรือที่เรียกว่า Blogspot แต่
ไม่มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการทำบล็อกหรือเว็บไซต์มาก่อน
ซึ่งส่วนใหญ่พอเข้ามาที่บล็อกนี้
ก็จะหลงทางจับต้นชนปลายยังไม่ถูกว่าควรจะเริ่มอ่านบทความไหนก่อนดี
เป็นเพราะว่าตอนนี้บทความที่ผมเขียนมีจำนวนมากขึ้นเรื่อย ๆ ประมาณ 250
บทความแล้ว
เอาล่ะครับสมมติว่าตอนนี้คุณอยากจะทำบล็อกของ Blogger หรือที่เรียกว่า Blogspot ผมขอแนะนำให้คุณอ่านบทความในบล็อกนี้และทำ ตามลำดับขั้นตอนดังนี้
ขั้นที่ 1 ตั้งเป้าหมายและเลือก keyword ในการทำบล็อก
การเริ่มต้นครั้งแรกคุณควรจะวางเป้าหมายหรือจุดประสงค์ในการทำบล็อกให้ชัดเจน ว่าจะทำเป็นบล็อกส่วนตัว บล็อกเพื่อการศึกษา เพื่อความบันเทิง เฉพาะเรื่อง หรือเพื่อธุรกิจ
เอาล่ะครับสมมติว่าตอนนี้คุณอยากจะทำบล็อกของ Blogger หรือที่เรียกว่า Blogspot ผมขอแนะนำให้คุณอ่านบทความในบล็อกนี้และทำ ตามลำดับขั้นตอนดังนี้
ขั้นที่ 1 ตั้งเป้าหมายและเลือก keyword ในการทำบล็อก
การเริ่มต้นครั้งแรกคุณควรจะวางเป้าหมายหรือจุดประสงค์ในการทำบล็อกให้ชัดเจน ว่าจะทำเป็นบล็อกส่วนตัว บล็อกเพื่อการศึกษา เพื่อความบันเทิง เฉพาะเรื่อง หรือเพื่อธุรกิจ
ขั้นตอนการจดโดเมนกับ Godaddy และชี้มายัง Blogspot
ที่จริงก็มีบทความที่หลายคนเคยเขียนเกี่ยวกับการจดโดเมนกับ Godaddy อยู่บน
internet พอสมควร แต่ข้อมูลบางอย่างก็ยังไม่ update เมนูการใช้งานต่าง ๆ บน
Godaddy ก็เปลี่ยนไปแล้ว และเนื่องจากยังไม่มีใครนำเสนอการจดโดเมนกับ
Godaddy โดยตรงและชี้มายัง Blogspot
ผมจึงขอเขียนเล่าประสบการณ์ให้ฟังกันในโอกาสนี้ไปเลย
จดโดเมนโดยตรงกับ Godaddy มีข้อดีอย่างไร?
ข้อดีที่พบอย่างชัดเจนคือเราสามารถใช้ Godaddy Coupon ลดราคาได้ แต่เราก็จะไม่ได้ใช้ Google Applications เหมือนกับการจดโดเมนผ่าน Blogger โดยตรง แต่ก็ถือว่าคุ้มค่า เพราะบาง Godaddy Coupon ก็ลดราคาได้ถูกลงถึง 1.5$ หรือเพียง 46 บาทต่อหนึ่งโดเมนเท่านั้น
ข้อดีอีกอย่างหนึ่งคือถ้าเราเกิดเปลี่ยนใจอยากชี้โดเมนไปที่โฮสที่เราเช่าเอาไว้วันไหนก็สามารถทำได้อีกด้วย
เอาล่ะครับมาถึงขั้นตอนการลงทะเบียนโดเมนกับ Godaddy ซึ่งสิ่งที่จะต้องเตรียมพร้อมคือ บัตรเครดิต หรือมีบัญชี paypal ก็ได้
ขั้นตอนการจดโดเมนกับ Godaddy และชี้มายัง Blogspot มี 3 ขั้นตอนใหญ่ ๆ คือ ลงทะเบียนชื้อโดเมนกับ Godaddy การตั้งค่า DNS ใน Godaddy และส่วนที่สามคือการตั้งค่าใน Blogspot
ขั้นที่ 1 ลงทะเบียนโดเมนกับ Godaddy
1.1 เตรียมชื่อโดเมนให้พร้อม แนะนำว่าสำรองชื่อที่มีการเติม prefix-suffix เอาไว้บ้างเผื่อว่าโดเมนนั้นจะไม่ว่างแล้ว
จดโดเมนโดยตรงกับ Godaddy มีข้อดีอย่างไร?
ข้อดีที่พบอย่างชัดเจนคือเราสามารถใช้ Godaddy Coupon ลดราคาได้ แต่เราก็จะไม่ได้ใช้ Google Applications เหมือนกับการจดโดเมนผ่าน Blogger โดยตรง แต่ก็ถือว่าคุ้มค่า เพราะบาง Godaddy Coupon ก็ลดราคาได้ถูกลงถึง 1.5$ หรือเพียง 46 บาทต่อหนึ่งโดเมนเท่านั้น
ข้อดีอีกอย่างหนึ่งคือถ้าเราเกิดเปลี่ยนใจอยากชี้โดเมนไปที่โฮสที่เราเช่าเอาไว้วันไหนก็สามารถทำได้อีกด้วย
เอาล่ะครับมาถึงขั้นตอนการลงทะเบียนโดเมนกับ Godaddy ซึ่งสิ่งที่จะต้องเตรียมพร้อมคือ บัตรเครดิต หรือมีบัญชี paypal ก็ได้
ขั้นตอนการจดโดเมนกับ Godaddy และชี้มายัง Blogspot มี 3 ขั้นตอนใหญ่ ๆ คือ ลงทะเบียนชื้อโดเมนกับ Godaddy การตั้งค่า DNS ใน Godaddy และส่วนที่สามคือการตั้งค่าใน Blogspot
ขั้นที่ 1 ลงทะเบียนโดเมนกับ Godaddy
1.1 เตรียมชื่อโดเมนให้พร้อม แนะนำว่าสำรองชื่อที่มีการเติม prefix-suffix เอาไว้บ้างเผื่อว่าโดเมนนั้นจะไม่ว่างแล้ว
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)